ep4 การส่งข้อมูลของแบบฟอร์ม

 ในตอนนี้เราจะมาฝึกเขียนโค้ดคำสั่งจัดการข้อมูลของฟอร์มกัน 

ซึ่งภาษา PHP จะมีตัวแปรชนิด superglobal ที่สามารถเรียกใช้งาน 2 วิธีคือ $_GET กับ S_POST 

โดยทั้งสองตัวแปร จะมีหน้าที่สำหรับการ รวบรวมข้อมูลหรือ data collect จากแบบฟอร์ม   

เราสามารถใช้ได้ทั้งแบบ get และแบบ post สำหรับ บทความนี้เราจะมาฝึกใช้งานตัวแปร Post กัน 

โดยใช้แท็ก <form action="ชื่อไฟล์" method="POST">

สร้างไฟล์ ชื่อ register_show.php

ในแท็กพื้นฐาน 

<html>

<body>

Name <?php   echo $_POST ["Firstname"]; ?> <br>

ข้อความแสดงด้านหน้ากำกับคล้าย label จากนั้น เปิดด้วยแท็ก coding ภาษา PHP แล้ว ใช้คำสั่งแสดงข้อมูลหรือ echo รับค่าจากฟอร์ม 

ทำต่อในคอลัมน์ต่อไปตามลำดับ จนครบ แล้วลองทดสอบผลการทำงาน

Last name

Phone 

Class 

</body>

</html>

เริ่มต้นเขียนภาษา PHP ด้วยตนเอง EP3 การสร้างฟอร์ม

 ตอนที่สาม เราจะมาสร้างฟอร์มสำหรับให้ คนกรอกข้อมูลที่เราต้องการจัดเก็บ กรอกเข้ามากัน 

แท็กแรกของฟอร์ม 

<form>


..... ใส่ส่วนต่างๆของแบบฟอร์ม เช่น ข้อความให้กรอก ตัวเลือกให้คลิก และคำสั่งให้เริ่มการทำงาน 

</form>


เราเขียนง่ายๆ โดยใช้แท็ก input หรือนำเข้าข้อมูล

เราจะได้รู้จัดชนิดของข้อมูล คือ text หมายถึงข้อความ 

ปุ่ม radio ไม่ใช่วิทยุนะครับ คือปุ่มที่สามารถให้เลือกข้อมูลตามที่เราต้องการได้ 

แท็ก <label>   </lable> สำหรับเขียนป้ายข้อความกำกับ

ปุ่มบันทึกข้อมูล save หรือปุ่ม submit เพื่อให้ code คำสั่งที่เรากำลังเริ่มต้นศึกษา ทำงานหรือ take action ตามที่เราต้องการกัน 

ตามตัวอย่าง เก็บข้อมูล ชื่อแรก first name 

ข้อมูลนามสกุล Lastname

ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ phone

และข้อมูลระดับชั้นการเรียน class



<form>
  <label for="Firstname"> Firstname:</label><br>
<input type="text" id="Firstname" name="Firstname"><br>
<label for="Lasttname"> Lastname:</label><br>
<input type="text" id="Lastname" name="Lastname"><br>
<label for="phone"> phone:</label><br>
<input type="text" id="Phone" name="Phone"><br>
<input type="radio" id="A1" name="class" value="อนุบาล 1">
<label for="A1"> อนุบาล1:</label><br>
<input type="radio" id="A2" name="class" value="อนุบาล 2">
<label for="A2"> อนุบาล2:</label><br>
<input type="radio" id="A3" name="class" value="อนุบาล 3">
<label for="A3"> อนุบาล3:</label><br>
<input type="submit" value="Submit"><br>


</form>



เมื่อจบบทนี้ เราควรได้รู้จักวิธีการสร้างแบบฟอร์มพื้นฐานที่สุดกัน เพื่อนำไปต่อยอด ความรู้และฝึกฝนเพิ่มเติมในโอกาสหน้า 



การสร้างฐานข้อมูล PHPMYADMIN

 หลังจากติดตั้งโปรแกรมจำลองการใช้งานผ่านเว็บหรือ Browser อย่าง XAMPP กันแล้ว 

มาดูขั้นตอนและวิธีการสร้างฐานข้อมูลกัน ไปที่โปรแกรมท่องเน็ตอย่าง Chrome แล้วพิมพ์ 

localhost/ ลงไปแล้ว enter

คลิกไปที่ phpmyadmin 

คลิก new 

ระบุชื่อฐานข้อมูล ลงไปเช่น myDB 

จากนั้นคลิกคำสั่ง  Create 


ขั้นต่อมาให้เราสร้างตารางขึ้นมาใหม่ โดยใช้วิธีคลิกที่ sql 

ฝึกการสร้างตารางขึ้นมาใช้งาน ตามคำสั่งเป็น 



สร้างตารางชื่อ students

Create tabel Students (


    id int(11),
    Firstname varchar(255),
    Lastname varchar(255),
    phone varchar(10),

);

มีคอลัมน์ id ชนิดข้อมูลเป็นตัวเลข ความยาว 11 ตัว

Firsrtname ชนิดข้อมูลเป็น ข้อความ ความยาว 255




เริ่มต้นเขียนภาษา PHP ด้วยตนเอง EP1 การ Connect

 การ Connect ฐานข้อมูลเป็น Code แรกที่เราจะเริ่มต้นเขียนกัน หรือจะ copy ไปวางก็ได้ แต่ควรอ่านและทำความเข้าใจ ในภาพรวมๆ 

เริ่มตั้งแต่การสร้างแท็กภาษา PHP

การกำหนดค่าตัวแปรขึ้นมาใช้งาน ในการเชื่อมต่อฐานข้อมูล phpmyadmin

การเขียน code ดักจับควาผิดพลาดการ connect ให้แสดงข้อความผิดพลาด หรือทำงานสำเร็จ 

และการรัน test ทดสอบการทำงานของ code


<?php
$servername = "localhost" ;
$username = "root" ;
$password = "" ;

try {
$conn=new PDO("mysql:host=$servername;dbname=myDB", $username,$password);
// set the PDO error mode to exception
$conn->setAttribute(PDO::ATTR_ERRMODE, PDO::ERRMODE_EXCEPTION);
echo "Connected successfully";
} catch (PDOException $e) {
echo "Connetion failed:" .$e->getMessage();

}
?>



สอนทำแอพบันทึกข้อมูลการเช่ารถด้วย Appsheet

สูตรที่ใช้งาน 

ตาราง car inventory 

คอลัมน์ จำลอง current stock 

SUM(

SELECT(

Stock in[QTY],

[item code] = [_THISROW].[item code]

)) - 

SUM(

SELECT(

Stock out[QTY],

[item code] = [_THISROW].[item code]

)) + 

[Available stock]


ตารางส่งคืนรถ car in

คอลัมน์ item name 

Any(select(car inventory[item name],[_THISROW].[item code]=[item code]))

คอลัมน์ unit price

Any(select(car inventory[unit price],[_THISROW].[item code]=[item code]))

คอลัมน์ Amount 

[unit price]*[QTY]

สร้างคอลัมน์จำลอง 2 คอลัมน์ 

คอลัมน์ Available stock

Any(Select(car inventory[Available stock],[_THISROW].[item code]=[item code]))

คอลัมน์  New available stock

[Available Stock]-[QTY]



ตารางให้เช่ารถ car out

คอลัมน์ item name 

Any(select(car inventory[item name],[_THISROW].[item code]=[item code]))

คอลัมน์ unit price

Any(select(car inventory[unit price],[_THISROW].[item code]=[item code]))

คอลัมน์ Amount 

[unit price]*[QTY]

สร้างคอลัมน์จำลอง 2 คอลัมน์ 

คอลัมน์ Available stock

Any(Select(car inventory[Available stock],[_THISROW].[item code]=[item code]))

คอลัมน์  New available stock

[Available Stock]-[QTY]


ตาราง car in form

คอลัมน์ Receipt No

ค่าเริ่มต้นระบุเป็น randbetween(10000,100000)

เพิ่ม 2 คอลัมน์จำลอง 

คอลัมน์ car in 

ref_rows("car in","Receipt No")

คอลัมน์ Total amount

Sum(Select(car in[Amount],[_THISROW].[Receipt No]=[Receipt No]))


ตาราง car out form

คอลัมน์ Receipt No

ค่าเริ่มต้นระบุเป็น randbetween(10000,100000)

เพิ่ม 2 คอลัมน์จำลอง 

คอลัมน์ car out 

ref_rows("car out","Receipt No")

คอลัมน์ Total amount

Sum(Select(car out[Amount],[_THISROW].[Receipt No]=[Receipt No]))


การสร้าง view ในส่วนของหน้าจอหลัก Main navigation จำนวน วิวหลักคือ 

car inventory  แหล่งตาราง car inventory  มุมมอง Desk


car in   แหล่งตาราง car in form       มุมมอง form

finish view เป็น car in form_detail

car out   แหล่งตาราง car out form   มุมมอง form

finish view เป็น car out  form_detail


ทดสอบ แก้ไข และปรับเพิ่ม ตามต้องการ 


ตาราง car in และตาราง car out 

คอลัมน์ item code ไปที่ data validity >valid if

ใส่สูตร select(car inventory[item code],true)


ทดสอบการใช้งานแอพ ในเรื่องการบันทึกเช่ารถ และคืนรถ 

พบ error นิดหน่อย

แก้ไข โดยไปที่ตารางชื่อว่า car in form กับ car out form 

กำหนดคีย์หลักตารางเป็น receipt no

และลาเบลเป็น customer Name



สร้างแอพควบคุมสินทรัพย์คอมพิวเตอร์ หน่วยงานหรือองค์กรด้วย Appsheet กัน

 บทความนี้จะพาไปสร้างแอพสำหรับ บริหารจัดการ ควบคุมทรัพยากรของหน่วยงาน คือ เครื่องพิมพ์ หรือ Printers กัน เชื่อว่า หลายองค์กร หรือส่วนงาน ที่มีหน้าที่ในการควบคุมยอด สต้อกเครื่องพิมพ์ และทำหน้าที่กำกับดูแล แจกจ่ายการใช้งาน และการซ่อมบำรุง เครื่องพิมพ์ 

ออกแบบตารางฐานข้อมูลก่อน ไปที่ Google drive แล้วสร้าง new Folder ขึ้นมา กำหนดชื่อเป็น Printers 

เข้าไปในโฟลเดอร์ที่เราสร้าง แล้ว คลิก New file สร้างไฟล์ตาราง Google sheet ขึ้นมา กำหนดชื่อเป็น Printers 

ข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ ดังนี้

ID

หน่วยใช้งาน

ยี่ห้อ

รุ่น

หมายเลข SN

ภาพถ่าย

วันเดือนปีที่ได้รับมา

รหัส qrcode

ชนิดของเครื่องพิมพ์ 

สถานะ

เอกสาร

วันเดือนปีที่บันทึก

ผู้บันทึก


ขั้นสองไปที่แอพชีพ สร้าง new app ขึ้นมา ลิงค์ ตาราง data จากกูเกิลไดร์ฟ ที่เราสร้างขั้นตอนก่อนหน้า

การจัดการ data type หรือ ชนิดของข้อมูล 

กำหนดชนิดของ data type ดังนี้

ID      uniqueID()

หน่วยใช้งาน ref 

ยี่ห้อ  ref

รุ่น  text 

หมายเลข SN   text 

ภาพถ่าย    image 

วันเดือนปีที่ได้รับมา   date

รหัส qrcode   image

ชนิดของเครื่องพิมพ์    enum

สถานะ   enum 

เอกสาร   file 

วันเดือนปีที่บันทึก  date 

ผู้บันทึก   useremail()


กำหนดในส่วนของหน้าตาใช้งานหรือ view ต่างๆ 

การลอง Add หรือบันทึกข้อมูลด้วยแอพ 


ดาวโหลด Free PDF Reader

 สำหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ที่สนใจและต้องการโปรแกรม สำหรับการอ่านเอกสาร PDF แอดมินขอแนะนำโปรแกรมที่เป็นฟรีแวร์ที่ได้รับความนิยมจากผู้ใช้งาน ในการดาวโหลดและติดตั้งใช้งานกันทั่วโลกจำนวนมากอย่าง PDF Reader 

จุดเด่น ดาวโหลดและติดตั้งใช้งานฟรี 

บนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์มือถือ 

ความสามารถหลัก : เปิดและอ่านไฟล์เอกสาร PDF บนคอมพิวเตอร์ 

ทำอย่างอื่น เพิ่มเติมได้อย่างจำกัด เช่น การเพิ่ม คำอธิบายเอกสาร Annotation และการลงนามเอกสาร Sign ซึ่งอาจจะต้อง ลงทะเบียนเพื่อใช้งาน 

สนใจดาวโหลด : PDF Reader  


Read and Print

Experience the power of PDF through a full functioned PDF Reader. Reading and printing PDF couldn’t be easier. Leverage existing forms and workflows with standard PDF (Acroforms) and XFA (XML Form Architecture) form filling.