ระบบแอพชีพและกูเกิลชีท สำหรับงานบริหารคลังวัสดุสำนักงาน หรือโรงเรียน
สร้างฐานข้อมูลบนกูเกิลไดร์ฟ กำหนดโพลเดอรชื่อ school inventory
สร้างตารางฐานข้อมูลจำนวน 5 ตารางคือ
- inventory
- stock in
- stock out
- stock in form
- stock out form
ขั้นต่อมาไปที่ appsheet สร้าง new app นำเข้าตารางข้อมูลเข้ามาทั้งหมด
การจัดการตารางคลังวัสดุ inventory
กำหนดค่าคีย์หลักเป็น item code
กำหนดค่าลาเบลเป็น item name
เพิ่มคอลัมน์เสมือน 1 คอลัมน์ตั้งชื่อเป็น current stock และใส่สูตรลงไป
SUM(
SELECT(
Stock in[QTY],
[item code] = [_THISROW].[item code]
)) -
SUM(
SELECT(
Stock out[QTY],
[item code] = [_THISROW].[item code]
)) +
[Available stock]
ขั้นต่อมาไปที่แท็บ UX กำหนดค่าหน้าจอการทำงานของมุมมอง inventory เป็นแบบ Desk และเพิ่มข้อมูลเข้ามาในระบบเพื่อเป็นกรณีตัวอย่าง 2-3 รายการ
ขั้นตอนต่อมา แท็บ Data
กำหนดค่าตาราง stock in ดังนี้
key หลักเป็น ID และลาเบลเป็น item name
คอลัมน์ date และ time ใส่สูตรเป็น today() และ timenow()
คอลัมน์ item code ในช่อง valid if ใส่สูตร select(inventory[item code],true)
คอลัมน์ item name ช่อง formula ใส่สูตร Any(select(inventory[item name],[_THISROW].[item code]=[item code]))
คอลัมน์ unit price ช่อง formula ใส่สูตร Any(select(inventory[unit price],[_THISROW].[item code]=[item code]))
คอลัมน์ amount ใส่สูตร [unit price]*[QTY]
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น Available stock และใส่สูตร Any(Select(inventory[Available stock],[_THISROW].[item code]=[item code]))
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น New available stock และใส่สูตร [Available Stock]-[QTY]
------
กำหนดค่าตาราง stock in form ดังนี้
คีย์หลัก Receipt no และลาเบลเป็น Person name
คอลัมน์ date และ time ใส่สูตรเป็น today() และ timenow()
คอลัมน์ Receipt no เข้าไปที่ค่าเริ่มต้น initial value ใส่สูตร randbetween(10000,100000)
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น stock in และใส่สูตร ref_rows("Stock in","Receipt No")
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น Total amount และใส่สูตร Sum(Select(Stock in[Amount],[_THISROW].[Receipt No]=[Receipt No]))
----
กำหนดค่าตาราง stock out (คล้ายกับตาราง stock in เลย)
key หลักเป็น ID และลาเบลเป็น item name
คอลัมน์ date และ time ใส่สูตรเป็น today() และ timenow()
คอลัมน์ item code ในช่อง valid if ใส่สูตร select(inventory[item code],true)
คอลัมน์ item name ช่อง formula ใส่สูตร Any(select(inventory[item name],[_THISROW].[item code]=[item code]))
คอลัมน์ unit price ช่อง formula ใส่สูตร Any(select(inventory[unit price],[_THISROW].[item code]=[item code]))
คอลัมน์ amount ใส่สูตร [unit price]*[QTY]
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น Available stock และใส่สูตร Any(Select(inventory[Available stock],[_THISROW].[item code]=[item code]))
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น New available stock และใส่สูตร [Available Stock]-[QTY]
----------
กำหนดค่าตาราง stock out form ดังนี้
คีย์หลัก Receipt no และลาเบลเป็น Person name
คอลัมน์ date และ time ใส่สูตรเป็น today() และ timenow()
คอลัมน์ Receipt no เข้าไปที่ค่าเริ่มต้น initial value ใส่สูตร randbetween(10000,100000)
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น stock out และใส่สูตร ref_rows("Stock out","Receipt No")
คลิกปุ่ม + เพิ่มคอลัมน์จำลอง กำหนดชื่อเป็น Total amount และใส่สูตร Sum(Select(Stock out[Amount],[_THISROW].[Receipt No]=[Receipt No]))
จบขั้นตอนการกำหนดค่าของตาราง ต่อไปจะมาพูดถึงการกำหนดค่าส่วนติดต่อผู้ใช้งานหรือ UX กัน
จะแยกเป็น 2 ส่วนคือ มุมมองหลัก จำนวน 3 วิวคือ inventory , new stock in , new stock out
มุมมอง new stock in
ชนิดของมุมมองเป็นแบบฟอร์ม Form กำหนดค่าต่างๆ ดังนี้
For this data เลือกตารางชื่อ stock in Form
คอลัมน์ order เรียงดังนี้ date ,time,receipt no, person name ,person phone
และ finish view เป็น stock in form detail
---
มุมมอง new stock out
ชนิดของมุมมองเป็นแบบฟอร์ม Form กำหนดค่าต่างๆ ดังนี้
For this data เลือกตารางชื่อ stock out Form
คอลัมน์ order เรียงดังนี้ date ,time,receipt no, person name ,person phone
และ finish view เป็น stock out form detail
--------
การสร้างมุมมองเสริมการทำงานของแอพ จำนวน 6 วิวด้วยกันในกลุ่มของ เมนูวิว
มุมมอง stock in
For this data เป็น stock in
view type เป็น tabel
Position เป็น menu
จัดเรียงข้อมูล sort by date
Group aggerate เป็น Sum ::Amount
จัดเรียงคอลัมน์ Column order
------
มุมมอง stock out
For this data เป็น stock out
view type เป็น tabel
Position เป็น menu
จัดเรียงข้อมูล sort by date
Group aggerate เป็น Sum ::Amount
จัดเรียงคอลัมน์ Column order
------
มุมมอง stock in Form
For this data เป็น stock in form
view type เป็น Form
Position เป็น menu
------
มุมมอง stock out Form
For this data เป็น stock out form
view type เป็น Form
Position เป็น menu
--------
มุมมอง stock in history
For this data เป็น stock in form
view type เป็น table
Position เป็น menu
เรียงคอลัมน์ เป็น
มุมมอง stock out history
For this data เป็น stock out form
view type เป็น table
Position เป็น menu
เรียงคอลัมน์ เป็น