พื้นฐานการใช้งาน lookup function ใน appsheet

 โดยหลักการของ  lookup function ใน appsheet  ขอยกตัวอย่างประกอบง่ายๆ เพื่อความเข้าใจ 

เราต้องสร้าง table หรือตารางขึ้นมา 2 ตาราง และบันทึกข้อมูลที่ต้องการดังนี้ 

สมมุต บันทึกข้อมูลรายการ ข้อมูลของนักเรียนในห้องมัธยมปีที่ 4 / 1 โรงเรียน xyz 

จากนั้น ในตารางที่ 2 สร้างตารางเพื่อบันทึก เวลามาเรียนของนักเรียน 


โดยทั้งสองตารางจะมี คอลัมน์ รหัสนักเรียน เป็นรหัสอ้างอิง เมื่อมีการ เลือกรหัสนักเรียน มาบันทึกแล้ว ค่าอื่นๆ ที่เหลือ เช่น ชื่อ สกุล ที่อยู่ เบอร์ติดต่อ จะถูกมองหา และบันทึกอันโนมัติ นั้นเอง 

โดยไม่จำเป็นต้อง บันทึกเองให้เสียเวลา 

ข้อมูลตารางแรก ชื่อตาราง Student

รหัสนักเรียน

คำนำหน้าชื่อ

ชื่อแรก

นามสกุล

ที่อยู่

เบอร์โทร

วันที่บันทึก


ตารางที่ 2 ชื่อ บันทึกเวลามาเรียน

วันที่

เวลา

รหัสนักเรียน 

คำนำหน้าชื่อ 

ชื่อแรก

นามสกุล

ที่อยู่

เบอร์โทร 


ไปที่ เวบ appsheet 

สร้าง New App 

ตั้งชื่อแอพ ว่า student in

นำเข้าข้อมูลจากตารางที่เราพึ่งสร้างขึ้นมา 

เข้าไปที่คุณสมบัติข้อมูล แผ่น 1 

แล้วแก้ไข ชนิดของข้อมูล  

รหัสนักเรียน  text

คำนำหน้าชื่อ

ชื่อแรก  text 

นามสกุล  text 

ที่อยู่   text 

เบอร์โทร   phone 

วันที่บันทึก  date

สำหรับแผ่น 2 

เข้าไปที่คุณสมบัติข้อมูล แผ่น 1 

แล้วแก้ไข ชนิดของข้อมูล  

รหัสนักเรียน  text

คำนำหน้าชื่อ

ชื่อแรก  text 

นามสกุล  text 

ที่อยู่   text 

เบอร์โทร   phone 

วันที่บันทึก  date


หลักการคือ ต้องมี Key หลักของแต่ละตารางในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กัน หรือจะเรียนกว่า Ref 

คอลัมน์ 



ในตัวอย่างนี้ ให้ใช้ คอลัมนน์ รหัสนักเรียนเป็น Key และชนิดข้อมูลเป็น ref จากแผ่น 1 

จากนั้น ในช่องของคอลัมน์ คำนำหน้าชื่อ ชือ นามสกุล และ อื่นๆ ที่เหลือ จะสามารถเรียนข้อมูลจาก แผ่น 1 มาเติมอัตโนมัติ โดยใช้ฟังก์ชั่น lookup ดังกล่าว

ในคอลัมน์ คำนำหน้าชื่อ ไปที่ app formula ใส่ค่าเป็น [รหัสนักเรียน].[คำนำหน้าชื่อ]

และ ทำต่อลักษณะเดียวกัน กับคอลัมน์อื่นๆ ที่เหลือ จนครบตามต้องการ 

สามารถดูตัวอย่างจากคลิปวีดีโอ บนช่องยูทูป ได้ครับ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น