รู้จักกับ Resources ของ Android Studio

ในการพัฒนาแอพด้วย Android Studio นั้น แรกๆ ผู้สนใจพัฒนาจะต้องค่อยๆ ศึกษา และเรียนรู้ทำความเข้าใจกับ มุมมองของแอพ ข้อความ ปุ่ม และ ภาพ จากนั้น เริ่มต้นศึกษา และฝึกลองเขียนโค้ด เพื่อแสดงผล ข้อความ หรือรูปภาพ และเริ่มมีการแทรกป่มคำสั่งการทำงาน เพื่อให้สามารถ แสดงผลตามที่เราต้องการได้
ซึ่งในการเขียนแอพด้วย Android Studio นั้น ผู้ใช้งานจะต้องเข้าใจและทำความรู้จักกับ แหล่งข้อมูลหรือ Resource ของ Android Studio ว่าคืออะไร มีวามจำเป็นและความสำคัญในการใช้งานอย่างไร
การเข้าถึง จากหน้าจอ Android Studio
คลิกที่ปุ่มคำสั่ง res
เพื่อแดงรายการแฟ้มย่อยๆ
โดยแอพ Android ก็จะมีองค์ประกอบด้วย Resources หลายๆ ส่วนประกอบกันเป็นแอพ ซึ่งมีภาษา Java เป็นหลักในการเขียน
โดยไฟล์ประกอบอื่นๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพปุ่ม มุมมอง ฯลฯ ก็จะจัดเก็บใน Resources ของระบบนั้นเอง เป็นการแยกออกจากกันทางกายภาพ ที่ชัดเจน โดยมีเหตผลหลัก เพื่อให้สามารถ มีแหล่งสำรองที่อ่อนตัว แลมีประสิทธิภาพมากกว่า ที่จะจัดเก็บหรือรวมอยู่ในรหัสภาษา Java เลย

วิีการเข้าถึงแหล่งไฟล์ของแอพ จะใช้การเข้าถึงโดยอ้าง resource ID
R. Drawable แหล่งข้อมูลภาพ
R.String แหล่งข้อมูล ข้อความ เป็นต้น
การเขียน code เพื่ออ้างอิงจะแตกต่างกัน ระหว่าง Java กับ XML ไฟล์
โดย XML จะนำด้วย @
ส่วน Java ไฟล์จะนำด้วย R


ในโปรแกรม Android Studio
คลิกไปที่ไอค่อนแว่นขยาย
ในช่องการค้นหา ใส่ R.
และติ้กเลือก match Case
จากน้น จะได้ผลการค้นหา ตัวอย่าง Code ที่อ้างอิงการเรียงใช้ Resources ตามภาพประกอบ



ภาพแสดงข้นตอนการทำงานของโค้ด
เริ่มจากมีการเปิดแอพขึ้นมา
จากนั้น จะเป็นการเรียกไฟล์ Main Activity ขึ้นมา
โดยจะเป็นการเรียก รูปแบบ และมุมมอง Layout ต่างๆ เป็นแถวตามภาษาโปรแกรม ขึ้นมา
เช่น แบบตั้ง แบบนอน ปุ่มคำส่ง เป็นต้น
จากนั้น จะเป็นการสร้างลำดับช้นของภาษาจาว่า ให้เป็นแผนผัง หรือ Diagram ตามที่โปรแกรมเข้าใจ และสามารถประมวลผลได้

ในการเรียนการพัฒนาแอพด้วยภาษาจาว่า จะนำเอา Box หรือ กล่องเล็ก ๆ กล่องหนึ่ง มาแสดงเป็นตัวอย่างในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียนเสมอๆ

กล่อง เปรียบได้กับ ที่เก็บสมบัติ หรือสิ่งของ ที่เรสามารถ ใส่อะไรเข้าไปได้ เป็นที่บรรจุสิ่งของ Container เวลาที่เราสร้าง box หรือกล่องขึ้นมา ในภาษาจาว่า เราสามารถผสม หรือ ใส่ค่า Value ต่างๆ เข้าไป เพื่อเกิดให้เป็นวัตถุขนาดใหญ่ขึ้น
เราเรียกกันว่า Java Objects
กล่องก็คือ Java Object กล่องหนึ่งนั้นเอง

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น