Class Room Qrcode attendance Part 1

 Scenario 

A teacher in a primary or 2ND school who want to have a tiny database system in order to manage his/her classroom via internet network and mobile application.


 You need to have 

Basic computer skill ,Ms Excel ,and internet skills

Computer PC orLaptop 

MObile phone android or iOS

internet network or Mobile phone network

First step 

Go to google Drive and select Google Sheet to make a table for keeping database information 

Type the table name as Student Time In 

Name the colunm as follow

  1. Student Name
  2. Photo
  3. Home address
  4. City
  5. Phone
  6. Class 
  7. Date
  8. Time In 
  9. Attend
  10. Reason 
  11. Qrcode    
  12. Student ID

Next Step

Go to Appsheet 

Create New App and Name as Student Attend

Select Google as a resource database 

On data menu click on column View 

Look for the data type of each column as follow

  1. Student Name        as Text 
  2. Photo           as image
  3. Home address        as Text 
  4. City     as Text 
  5. Phone      as Text 
  6. Class   as ENUM**
  7. Date            as Date
  8. Time In         as Time
  9. Attend         as YES/NO
  10. Reason         as ENUM***
  11. QRcode    as Image*
  12. Student ID           as Text and Mark as Key UNIQUEID 


** For Class as Enum 

add new value for simple select as follow

Grade 1

Grade 2

Grade 7

Highe School

etc.

*** For Reason as Enum add new value to select as follow

Sick Leave

Personal Leave

Absent

Qrcode    as Image* 

add the url in order to generate the student Qrcode automatically as follow

"https://barcode.tec-it.com/barcode.ashx?data="&[MYID]&"&code=MobileQRCode&dpi=96&dataseparator="



Next Step 

ON UX menu choose Form and Save

Next step

input some students as sample

Student A 

Student B

Student C




 


การเปรียบเทียบค่าระหว่างคอลัมน์ Google Sheet

 การทำระบบตารางข้อมูล คะแนนสอบนักเรียนวิชาคณิตศาสตร์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน ใน 1 ปี มี 2 เทอม คะแนนสอบของนักเรียนแต่ละคน แต่ละเทอม จะมี 3 ค่า คือ ได้มากขึ้น ลดลง และเท่าเดิม 

หาคนที่ได้คะแนนเท่าเดิม โดยการเทียบค่า 2 คอลัมนน์กัน 

ใส่ = B2 = B3

จะได้ค่าเป็นค่า จริงค่าเท็จ 

TRUE/ FALSE

สำหรับการเทียบค่าข้อมูล เหมือนกัน หรือ แตกต่างกัน ระหว่าง 2 คอลัมน์ ในลักษณะนี้ ผู้สนใจ สามารถนำไป ปรับใช้งาน ตามรูปแบบของตนเองที่ต้องการได้ครับ อาจจะปรับปรุงค่าสูตรเล็กๆ น้อยๆ ก็ลองนำไปฝึกฝนและลองทดสอบกันดู 



การแปลงค่า TRUE/FALSE จริง/เท็จ ให้เป็นข้อความ 

หลักการทำก็จะคล้ายเดิม 

เริ่มจากเลือกคอลัมน์ที่ต้องการใส่ค่าสูตร 

ใส่สูตรเป็น =IF(A2=B2,”เหมือน”,”ไม่เหมือน”)


การหาค่าซ้ำของตาราง Google Sheet โดยสูตร COUNT IF

 การมีข้อมูลซ้ำในตาราง Google sheet นั้น เราไม่ต้องการ ก็จำเป็นต้องกรองออก โดยใช้วิธีการต่างๆ ได้หลายวิธีกันครับ สำหรับการฝึกการกรองค่าซ้ำออกจากตารางในวันนี้จะใช้สูตรการนับค่าซ้ำกันครับ 

เริ่มจากเปิดตารางข้อมูลที่ต้องการขึ้นมา 

เพิ่มหัวคอลัมน์เป็น หาค่าซ้ำ 

จากนั้นในช่องแรก ใส่สูตร =COUNTIF(A2:A,A2)

คำแปลสูตร คือ จงนับค่าของคอลัมน์ A2 ของ คอลัมน์ A โดยนับว่าค่า A2 เป็นต้นไป มีค่าซ้ำหรือไม่ 


แล้ว กด Enter 

จะได้จำนวนตัวเลขแสดงค่าซ้ำของข้อมูลขึ้นมาเป็นตัวเลข 2 หรือ 3 ขึ้นอยู่กับค่าที่มันซ้ำ 

 

ปรับค่าสูตรเพื่อแปลงตัวเลขเป็นค่า จริงค่าเท็จ TRUE/FALSE

โดยเพิ่มค่า มากกว่า 1 ต่อท้ายสูตร =COUNTIF(A2:A,A2)>1

และเพิ่มสัญญลักษณ์ $ หน้า A คอลัมน์ 

จะเป็นแบบนี้ 

=COUNTIF($A2:$A,$A2)>1


คัดลอกสูตรต้นแบบ เพื่อใช้งานกับทุกแถว 


การระบบแถบสี แถวที่มีค่าซ้ำ โดยการ คัดลอกสูตร ไว้ แล้วไปที่ คอมลัมน์ A เลือกช่วงที่ต้องการทั้งคอลัมน์ A หรือ บางส่วนก็ได้ 

จากนั้นบนเมนู รูปแบบ ไปที่ จัดรูปแบบตามเงื่อนไข ดูช่วงที่ต้องการอีกครั้ง A2:A


จากนั้นใส่ค่าสูตรที่กำหนดเอง 

วางสูตรที่คัดลอก ลงในช่องสูตร 

=COUNTIF($A2:$A,$A2)>1

สามารถปรับสีของแถบระบายเป็นสีอื่นๆ ตามที่ต้องการ หรือจะใช้สีที่เริ่มต้นเลยก็ได้ 



ทางเลือกการจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์

 สำหรับวันนี้ บทความสั้นๆ วันนี้ thaifreewaredownload.com จะมานำเสนอข้อมูลสรุปความรู้ในเรื่องของ ตัวเลือกการจัดเก็บข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์กันครับ

การเก็บข้อมูล Storage 


ตัวเลือกแรก คือการเก็บแบบไฟล์ File แบบนี้เหมาะสมสำหรับการจัดเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เช่น รูปภาพ แผนผัง และไฟล์มีเดียต่างๆ พวก วีดีโอ เพลง เป็นต้น 


ตัวที่สองคือ Shared Preferences เป็นการเก็บค่าที่สามารถเลือกตัวเลือกของใช้งานร่วมกัน เช่น หน่วยวัดความยาว เป็น เมตร กิโลเมตร ไมล์ หลา เซนติเมตร เป็นต้น 


แบบที่สาม SQLite Database เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางหรือ Table แบ่งย่อยเป็นแถว เป็นคอลัมน์  จะเหมาะสำหรับเก็บข้อมูลจำนวนมาก และมีความสัมพันธ์กัน และง่ายในการสรุปและสืบค้น นิยมเก็บข้อมูลที่เป็น text หรือข้อความ มักจะมีการขยายปริมาณมากขึ้น แต่ยังง่ายในการสืบค้น 


คำศัพท์ ที่เจอบ่อย 

Rows แถวแนวนอนหรือระนาบ 

Columns  แถวแนวตั้งหรือดิ่ง 

Attributes  การแยกเก็บข้อมูลในรูปแบบตารางข้อมูล

การออกแบบฐานข้อมูล เราต้องศึกษา โครงสร้างฐานข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ ว่าจะใช้เป็นชื่อของตาราง ชื่อของคอลัมน์ 

ตารางฐานข้อมูลที่แนะนำคือ Google Sheet 

ระบบฐานข้อมูลในชีวิตจริง 

เช่นฐานข้อมูลการเงินการธนาคาร

ฐานข้อมูลสายการบิน 


SQLite เปรียบเทียบกับ ห้องสมุด ที่โปรแกรม แอนดอยน์ สามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ เป็นระบบเปิด ที่ไม่มีค่าใช้จ่าย สามารถใช้งานได้ฟรี 


ขั้นตอนการติดตั้ง SQLite 

1 ดาวโหลด SQLite 

2 สร้างโพลเดอร์ C:\sqlite  แล้วแตกไฟล์ที่โหลดมาจากขั้นตอนแรก มาเก็บ จำนวน 3 ไฟล์ด้วยกัน 

3 เพิ่ม C:\sqlite ไปที่ PATH environment variable

4 ทดสอบการทำงาน โดยไปที่คำสั่ง CMDของวินโดว์ พิมพ์ sqlite3




การเทียบค่าซ้ำของข้อมูลบนตาราง Google Sheet

 การบันทึกข้อมูลบน Google Sheet ในบางครั้งอาจจะมีค่าของข้อมูลที่ตรงกัน หรือไม่ตรงกัน เราต้องการเทียบค่าว่ามีรายการอะไรบ้าง ในการนำไปประยุกต์ใช้งานตามวัตถุประสงค์ และความต้องการของเราต่อไป 

ยกตัวอย่าง ผมมีรายการข้อมูล รหัสสินค้าอยู่ 20 รายการ และคอลัมน์ รหัสสินค้าที่มีการขายออกไป สัก 8 รายการ 

ผมต้องการทราบว่า รายการอะไรบ้างที่มีการขายออกไป และรายการใดบ้างไม่มียอดขายออกไป เราสามารถเทียบข้อมูล ว่ามีรายการตรงกันหรือไม่ โดยใช้คำสั่ง การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข และใส่ค่าสูตรแบบกำหนดเอง Custom เพื่อให้มีการระบายแถบสี เฉพาะรายการที่มีการขายไป 

การลบค่าซ้ำออกอัตโนมัติตารางงาน Ms Excel

 โปรแกรมตารางคำนวณ Ms Excel นั้น เราสามารถใช้งานเป็นตารางฐานข้อมูล เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ตามที่เราต้องการได้ 

เช่นข้อมูล สินค้าคงคลัง

ข้อมูลพนักงาน 

ข้อมูลการเงินการบัญชี เป็นต้น 


อย่างไรก็ตาม ในการบันทึกข้อมูลนั้น เราอาจจะมีการบันทึกข้อมูลจำนวนมากๆ เป็นพันๆ หรือหมื่นๆ รายการ อาจจะมีโอกาสการ บันทึกค่าซ้ำ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการ 

เราสามารถใช้คำสั่งในการลบค่าซ้ำออกอัตโนมัติได้ โดยใช้เครื่องมือที่ Ms Excel ได้เตรียมไว้ให้เรานำมาใช้งาน ง่ายๆ ดังนี้ 

ขั้นแรก ก็เปิดไฟล์งาน ตารางMs Excel ที่ต้องการขึ้นมาก่อน

ขั้น 2 ให้คลิกที่คอลัมน์ที่ต้องการกรองค่าซ้ำออก 

ขั้น 3 บนแถบเมนูบาร์ คลิก ข้อมูล > เลือก เอารายการที่ซ้ำกันออก 




สร้างแอพสำหรับบริหารและจัดการระบบรถเช่า ด้วย Appsheet ตอน 2

 การสร้างตารางเก็บข้อมูล ผู้เช่ารถไปขับรายวัน 

ไปที่ google sheet สร้างตารางขึ้นมา กำหนดชื่อเป็น ผู้เช่า 

รหัสผู้เช่า

คิวอาร์โค้ด 

รูปถ่าย

ชื่อ-สกุล

ที่อยู่

อำเภอ

จังหวัด

เบอร์ติดต่อ

วันเดือนปีเกิด

วันที่บันทึกข้อมูล


ขั้น 2 ไปที่ appsheet เพื่อกำหนดรูปแบบของแต่ละคอลัมน์ ให้เหมาะสมกับชนิดข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ


ขั้น 3 ไปที่ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน UX เพิ่มมุมมอง View เป็น Form เพื่อบันทึกข้อมูลของ ผู้เช่าเข้ามาในระบบ ประมาณ 2-3 คน เพื่อเป็นตัวอย่าง



สำหรับตัวอย่างการทำ สามารถเข้าไปชมได้จากคลิปวีดีโอ ครับ



สร้างแอพสำหรับบริหารและจัดการระบบรถเช่า ด้วย Appsheet ตอน 1

 ตัวอย่างการสร้างแอพด้วยตนเอง 

Scenario เจ้าของกิจการรถตู้หรือรถแท็กซี่ให้เช่าจำนวน 10-20 คัน 

ต้องการระบบฐานข้อมูลในการบริหารจัดการกิจการของเรา โดยใช้แอพฟรีมาช่วยในการจัดการ 

ขั้นตอนแรก สร้างตารางจัดเก็บข้อมูล ทรัพยากรระบบของเรา คือ รถตู้และรถแท็กซี่ จำนวน 5-10 คัน 

ไปที่ Google drive สร้างตารางข้อมูล Google sheet 

โดยตั้งชื่อตารางว่า รถเช่า 

และกำหนดคอลัมน์ในการจัดเก็บข้อมูล จำนวน 11 รายการดังนี้ 

  1. รหัสรถยนต์ Auto
  2. คิวอาร์โค้ดรถยนต์
  3. รูปภาพ
  4. ยี่ห้อ
  5. รุ่น 
  6. สี
  7. เลขทะเบียน
  8. จังหวัด
  9. ปี พ.ศ.
  10. ราคา
  11. วันที่ซื้อ



ขั้น 2 ไปที่หน้าเวบไซต์ Appsheet 

สร้างแอพขึ้นมา ตั้งชื่อแอพว่า บริหารงานรถเช่าABC

ระบุ Souce หรือแหล่งฐานข้อมูลในการสร้างแอพเป็น Google Drive และเลือกตาราง รถเช่า 

ขั้น 3 ให้เรานำเข้าข้อมูล input ข้อมูล โดยผ่านหน้าแอพ Appsheet Form และบันทึกข้อมูล ให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่เราต้องการ 


จบขั้นตอนที่ 1 ขอให้ติดตามต่อในตอนที่ 2 จะเป็นการสร้างตาราง บันทึกข้อมูล คนที่มาขอเช่ารถไปขับ ในแต่ละวัน 

เราต้องสร้างตาราง และต้องการเก็บข้อมูลเพิ่ม หรือ ดึงข้อมูลจากตาราง รถเช่ามาใช้งานบางส่วน ตามที่เราต้องการต่อไป



ชมคลิปสอน

พื้นฐานการใช้งาน lookup function ใน appsheet

 โดยหลักการของ  lookup function ใน appsheet  ขอยกตัวอย่างประกอบง่ายๆ เพื่อความเข้าใจ 

เราต้องสร้าง table หรือตารางขึ้นมา 2 ตาราง และบันทึกข้อมูลที่ต้องการดังนี้ 

สมมุต บันทึกข้อมูลรายการ ข้อมูลของนักเรียนในห้องมัธยมปีที่ 4 / 1 โรงเรียน xyz 

จากนั้น ในตารางที่ 2 สร้างตารางเพื่อบันทึก เวลามาเรียนของนักเรียน 


โดยทั้งสองตารางจะมี คอลัมน์ รหัสนักเรียน เป็นรหัสอ้างอิง เมื่อมีการ เลือกรหัสนักเรียน มาบันทึกแล้ว ค่าอื่นๆ ที่เหลือ เช่น ชื่อ สกุล ที่อยู่ เบอร์ติดต่อ จะถูกมองหา และบันทึกอันโนมัติ นั้นเอง 

โดยไม่จำเป็นต้อง บันทึกเองให้เสียเวลา 

ข้อมูลตารางแรก ชื่อตาราง Student

รหัสนักเรียน

คำนำหน้าชื่อ

ชื่อแรก

นามสกุล

ที่อยู่

เบอร์โทร

วันที่บันทึก


ตารางที่ 2 ชื่อ บันทึกเวลามาเรียน

วันที่

เวลา

รหัสนักเรียน 

คำนำหน้าชื่อ 

ชื่อแรก

นามสกุล

ที่อยู่

เบอร์โทร 


ไปที่ เวบ appsheet 

สร้าง New App 

ตั้งชื่อแอพ ว่า student in

นำเข้าข้อมูลจากตารางที่เราพึ่งสร้างขึ้นมา 

เข้าไปที่คุณสมบัติข้อมูล แผ่น 1 

แล้วแก้ไข ชนิดของข้อมูล  

รหัสนักเรียน  text

คำนำหน้าชื่อ

ชื่อแรก  text 

นามสกุล  text 

ที่อยู่   text 

เบอร์โทร   phone 

วันที่บันทึก  date

สำหรับแผ่น 2 

เข้าไปที่คุณสมบัติข้อมูล แผ่น 1 

แล้วแก้ไข ชนิดของข้อมูล  

รหัสนักเรียน  text

คำนำหน้าชื่อ

ชื่อแรก  text 

นามสกุล  text 

ที่อยู่   text 

เบอร์โทร   phone 

วันที่บันทึก  date


หลักการคือ ต้องมี Key หลักของแต่ละตารางในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์กัน หรือจะเรียนกว่า Ref 

คอลัมน์ 



ในตัวอย่างนี้ ให้ใช้ คอลัมนน์ รหัสนักเรียนเป็น Key และชนิดข้อมูลเป็น ref จากแผ่น 1 

จากนั้น ในช่องของคอลัมน์ คำนำหน้าชื่อ ชือ นามสกุล และ อื่นๆ ที่เหลือ จะสามารถเรียนข้อมูลจาก แผ่น 1 มาเติมอัตโนมัติ โดยใช้ฟังก์ชั่น lookup ดังกล่าว

ในคอลัมน์ คำนำหน้าชื่อ ไปที่ app formula ใส่ค่าเป็น [รหัสนักเรียน].[คำนำหน้าชื่อ]

และ ทำต่อลักษณะเดียวกัน กับคอลัมน์อื่นๆ ที่เหลือ จนครบตามต้องการ 

สามารถดูตัวอย่างจากคลิปวีดีโอ บนช่องยูทูป ได้ครับ


สร้างฐานข้อมูลสินค้าด้วยตาราง Google Sheet

เพื่อศึกษาความรู้ด้าน สร้างฐานข้อมูลสินค้าด้วยตาราง Google Sheet สามารถนำไปปรับ หรือประยุกต์ใช้งานตามความต้องการส่วนบุคคลต่อได้ 
สิ่งที่ต้องมี
บัญชี Google Drive
สร้างตารางบันทึกข้อมูลสินค้า 
นำเข้าข้อมูลสินค้าตัวอย่าง

ความรู้เพิ่มเติมของ
SKU ย่อมาจาก store stocking unit สำหรับโรงงานผู้ผลิต เป็นกล่อง หรือหีบห่อ สินค้าแต่ละชนิด เช่น รองเท้ากีฬา รุ่น ยี่ห้อ สี ขนาด บรรจุในแพค กล่อง ลัง จำนวน 12 หรือ 24 คู่เป็นต้น 

ส่วน Serial Number เป็นรหัสที่แตกต่างกันของสินค้าแต่ละรายการ เป็นหน่วยย่อย 

สร้าง Table เก็บข้อมูลสินค้น ประกอบด้วย 
SKU
Description คำอธิบายสินค้า
Pack จำนวนบรรจุต้อกล่องหรือต่อลัง 

แล้วไปดูว่า หลักการ การบันทึกข้อมูลสินค้า จะสามารถเพิ่มเติมในส่วน Detail อะไร ที่สำคัญ หรือ จำเป็นได้บ้าง โดยการ 

สร้างแผ่นงานที่ 2 เพิ่ม เพื่อแยกบันทึกข้อมูล 

SKU
Description คำอธิบายสินค้า
Pack จำนวนบรรจุต้อกล่องหรือต่อลัง 
QTY จำนวนสินค้า 
QTY Expanded แยกกล่อง
Cost piece ราคาต่อหน่วยแยก
Total cost ราคารวมกล่อง 

*** เริ่มจาก การทำให้ SKU ของแผ่นงานที่ 2 เป็นเมนูตัวเลือกแบบ รายการ หรือ Drop Down List 
โดย คลิกเลือก คอลัมน์ SKU แล้ว ไปที่แท็บ DAta แล้วเลือก Data Validation 
ระบุ Souce ที่จะใช้เป็น รายการตัวเลือก เลือกจาก แผ่นงานที่ 1 คอลัมน์ SKU แนะนำให้เลือกเผื่ออนาคต ที่มีการเพิ่มรายการสินค้าเข้ามา ลองเลือกดูสัก 500 หรือ 900 รายการ ก็ได้ 

** เลือก รูปแบบการป้อนข้อมูล เป็น Reject คือห้ามป้อนข้อมูล ต้องนำเข้าจากรายการตัวเลือกเท่านั้น 

เลือกแล้ว Autofill คำอธิบายรายการสินค้า  และจำนวนบรรจุผลิตภัณฑ์ ทำอย่างไร 

จะใช้ฟังก์ชั่น Vlookup มาช่วยทำงาน 


การปรับแต่งฟอร์มบันทึกข้อมูล Google Sheet ตอน 2

 เราจะมาปรับปรุงหน้าจอฟอร์มบันทึกข้อมูล จากเดิม มีช่องบันทึกชื่อเท่านั้น เราจะมาปรับเพิ่มช่องบันทึกข้อมูล และ การสร้าง ตัวเลือก Drop Down List กัน 


รวมทั้งความรู้ในเรื่องของการปรับแต่ง หน้าตาของฟอร์มด้วยการจัดการรูปแบบ HTML CSS กัน

ความรู้ในเรื่องของ ภาษาHTML  JAva Script 

การแยกไฟล์ CSS และ ไฟล์ JS ออกจากหน้าแบบฟอร์ม HTML 

สำหรับไฟล์ประกอบ สามารถดูและคัดลอกได้ ท้ายคลิปในช่อง ยูทูป ครับ 

ชมคลิปตัวอย่าง

ถ้ามีเวลา และต้องการศึกษาวิธีการจริงๆ จังๆ แนะนำ ให้ ฝึกเขียน ที่ละบรรทัดด้วยตนเอง ครับ



การเขียนโค้ดเพื่อบันทึกข้อมูลลงในตาราง Google Sheet

 เดิมแอดมินเองก็เคยศึกษาการเขียน Code ในการบันทึกข้อมูล เข้าสู่ตารางข้อมูลในรูปแบบของ ASP และ HTML โดยอาศัย Script การทำงาน ต้นแบบจากเว็บไซต์ต่างๆ เป็นแนวทางและ ปรับปรุงใช้งาน ตามต้องการ 

สำหรับยุค 2020 ตอนนี้ ตอนที่ระบบฐานข้อมูลแบบเปิด Cloud มีบทบาทและความสำคัญมากขึ้น และผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ก็เข้าถึงได้มากขึ้น รวดเร็วขึ้น สะดวกขึ้น ข้อมูลภาพ ข้อความ วีดีโอ สามารถเข้าถึงประมวลผลได้รวดเร็ว บนอุปกรณ์พกพา โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็บ โน้ตบุ้ค เป็นต้น 

สำหรับความรู้ที่อยากนำมาแชร์ ในวันนี้ คือ การ ใช้พื้นที่ cloud ส่วนตัวของทุกคน Google Drive ในการสร้างตารางสำหรับจัดเก็บข้อมูล จาก User หรือผู้ใช้งาน ผ่านการเขียน Code หรือ Script ง่ายๆ สำหรับ นักเรียน นักศึกษา หรือผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ที่สนใจเริ่มต้นการเขียน Code เพื่อจัดการข้อมูล โดยไม่มีค่าใช้จ่าย 


ขั้นแรกไปที่ Google drive : GD สร้าง scipt ขึ้นมาตั้งชื่อว่า MY FOM

เพื่อใช้ลิงค์ไปที่ตาราง Google sheet และรับข้อมูลจากหน้าแบบฟอร์ม HTML 

เริ่มต้นด้วย 

Function doget() {

การส่งกลับค่า เป็นตัวเลข หรืออักษร

retun HtmlSevice.createHtmlOutputFromFile("ชื่อไฟล์")

โดยไปสร้างไฟล์ที่เมนู File ตั้งชื่อไฟล์เป็น Form HTML

แล้วเขียน code เพื่อแสดงข้อมูลพื้นฐาน 

แสดงส่วนหัว

<h1>Heading</h1>

เพิ่มส่วน input

<label>Name:</label><input type="text" id="username">

<button id="btn">ส่งข้อมูล</button>

บันทึกแล้วลองทดสอบ Script 

จะแสดงข้อมูล Heading 

เพิ่มการติดต่อกับผู้ใช้งาน โดยพื้นฐานคือการส่งผ่านค่าข้อมูล passing parameter 

เพิ่มปุ่มกด 

และระบุรหัส ID ให้ปุ่มกด เพื่อโยงกับภาษา JAVA SCIPT อีกที เริ่มด้วย

เมื่อมีคนกดปุ่ม จะให้ script ทำงานอะไร 

<script>

document.getElementById("btn").addEventListener("click",doStuff);

function doStuff(){

var uname=document.getElementById("username").value; ค่าที่ผู้ใช้งานป้อนชื่อเข้ามา 

google.script.run.userClicked(uname); 

document.getElementById("username").value="";

}

</script>



กลับไปเขียนโค้ดรองรับการทำงานของ script นี้ ในส่วนของ code ใน MY FORM

Function doget(e) {

Logger.log(e.parameter);

retun HtmlSevice.createHtmlOutputFromFile("Form HTML")

}

function userClicked(name){

คัดลอก url ของตาราง google sheet มาใส่

var url ="ใส่ค่า url ไฟล์ตาราง google sheet ของเรา";

var ss = SpreadsheetApp.openByUrl(url);

var ws =ss.getSheetByName("ชื่อชีทไฟล์ของเรา");

ws.appenRow([name]);

ws.appenRow([name,new Date]);

Logger.log(name+"Someone Clicked the Button");

}

กลับไปเพิ่ม script ที่หน้าฟอร์ม HTML 

ทดสอบรัน script จะพบว่า ดูใน Log ไฟล์ จะมีข้อมูลเก็บ Log ไว้ 

เราจะใช้พื้นฐานการเก็บค่า Log ในการเพิ่มช่องนำเข้าข้อมูล input ในส่วนของฟอร์มผู้ใช้งาน 

ขั้นตอนสุดท้าย คือการส่งค่าที่ได้รับจากการเปิดดูใน Log ไฟล์ ไปบันทึกลงในตาราง Google sheet 


การตรวจสอบค่าซ้ำแล้วลบออกตาราง Google Sheet

 การใช้สูตรสำหรับการค้นหาค่าซ้ำ แล้วลบออก ในตารางข้อมูล Google Sheet 

การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลจำนวนมากๆ เป็นพัน หรือ หมื่น รายการ ขึ้นไปนั้น หากเราขาดการวางแผนการป้องกัน การบันทึกข้อมูลซ้ำกัน ที่ดีเพียงพอแล้ว อาจจะมีการบันทึกค่าซ้ำเข้ามาได้ เช่น ข้อมูล ชื่อของคน หรือเลขรหัส ที่ไม่ต้องการให้เกิดค่าซ้ำเป็นต้น 

การป้องกัน คือทางแนะนำที่ดีที่สุด โดยใช้เงื่อนไข การป้องกันใส่ค่าซ้ำ 

กรณีมีค่าซ้ำเข้ามา เราก็สามารถ ตรวจสอบ และค้นหา และลบออก ได้ เพื่อ ให้การทำงาน เป็นไปตามต้องการ 

สูตรที่แนะนำคือ =ArrayFormula(IF(LEN(A2:A),if(SORT(ROW(A2:A)-ROW(A2)+2,SORT(ROW(A2:A)-ROW(A2)+2,B2:B,1),1)-MATCH(B2:B,SORT(B2:B),0)=1,,0),))


การนำสูตรไปใช้งาน ในช่อง TEST =ArrayFormula(IF(LEN(A2:A),if(SORT(ROW(A2:A)-ROW(A2)+2,SORT(ROW(A2:A)-ROW(A2)+2,B2:B,1),1)-MATCH(B2:B,SORT(B2:B),0)=1,,0),))

ค่าซ้ำ คือ ในคอลัมน์ B เป็นการบันทึก ชื่อ - สกุล เข้ามา ซ้ำกัน

ค่าที่กรองออกมาแล้วซ้ำกัน คอลัมน์ F จะแสดงขึ้นมาด้วยเลข 0

การลบข้อมูลที่ซ้ำกันออก

ให้ใช้ตัวกรองข้อมูลในคอลัมนื F โดยเลือกแสดงค่าเลข 0

จากนั้น ให้เลือกแถวทั้งหมด แล้ว ลบออกได้



ยกเลิกการกรองข้อมูล

จะเหลือข้อมูลที่ไม่มีค่าซ้ำ

** บันทึก

แนะนำให้ลองใช้งานกับฐานข้อมูลจำลอง เพื่อดูผลการทำงาน ที่ถูกต้อง ไม่มีข้อผิดพลาดของสูตรการทำงาน จากนั้นจึงนำไปใช้งานกับ ฐานข้อมูลจริง ต่อไป

การใช้งานฟังก์ชั่น V-LOOKUP ของ MS EXCEL

 ขั้นตอนแรก 

เตรียมตารางข้อมูลเพื่อใช้งานในการค้นหา

ฟังก์ชั่น V-LOOKUP หมายึงแปลตามตัว การค้นหาข้อมูลในแท่งแนวดิ่งของตาราง คอลัมน์ 

เช่น เรามีข้อมูลในตารางจำนวนมากๆ Big data บางครั้ง การค้นหาข้อมูล อาจจะช้าไป การใช้ vlookup ก็สามารถเป็นทางเลือก 

อธิบายตามตัวอย่าง 

เราเก็บข้อมูลนักเรียน ข้อมูลสินค้น และรายลเอียดประกอบอื่นๆ จำนวนมาก ไว้

วันดีคืนดี เราต้องการเรียนกดูข้อมูลของ นักเรียนสักคน โดยใช้ vlookup กัน 

ขั้นแรก คลิกช่องที่ต้องการใส่สูตร =VLOOKUP กดแท็บ จะได้วงเล็บ ระบุค่า lookup_value ให้ระบุเป็นค่า ชื่อ-สกุลนักเรียน B2 ลงไป 


ในส่วนของ table_array เราไม่ต้องระบุ ข้ามไปเลย

ใส่ ,

หลังคอมม่า ให้เลือกแหล่งข้อมูลที่ต้องการค้นหา แดรกเม้าส์คลุม ทั้งหมด จะขึ้น ค่าแถวแรก ถึงสุดท้าย 

และใก้กดแป้น F4 หนึ่งครั้งจะเป็นการแทรก $ ลงในสูตร เพื่อช่วยในการทำงานของสูตร 

เวลามีการคัดลอกสูตรไปใช้งาน 

ใส่ , 

หลังคอมม่า จะเป็นการระบุ คอลัมน์ที่ต้องการแสดงข้อมูล ในตัวอย่างคือ 3,0

ค่าสูตร คือ =VLOOKUP(B2,$G$2:$J$42,3,0)




การกรองข้อมูลค่าซ้ำออก Google Sheet

 การสร้างตารางข้อมูลบน Google Drive ช่วยอำนวยความสะดวกและความรวดเร็วในการทำงานร่วมกัน วันนี้เราจะมาดูขั้นตอนและวิธีการในการกรองข้อมูลที่มีค่าซ้ำกันออก ขั้นตอนและวิธีการจะแตกต่างจาก Ms Excel บนหน้าจอ DeskTop นิดหน่อย ที่จะค้องใช้ Function ช่วยในการทำงาน 

จากข้อมูลตัวอย่าง จำนวน คอลัมน์ และแถว ของตาราง สมุมมติว่ามี จำนวนข้อมูล เป็นพันๆ แถว จะมาไล่หาที่ละแถวที่ซ้ำกัน คงไม่สะดวก เราจะใช้ ฟังก์ชั่น Uique ในการกรองข้อมูล

คลิกที่ช่อง ตารางที่ต้องการ =UNIQUE(A1:E21) 

A1 คือค่าแรกของช่วงตารางที่ต้องการ 

E21 คือค่าสุดท้ายของช่วงที่ต้องการ 

จากนั้น กดแป้น Enter

จะเหลือข้อมูลที่แตกต่างกัน เท่านั้น 




วิธีการการคำนวณพื้นฐาน MS Excel

 อย่างที่เราทราบกันดีว่า โปรแกรมตารางคำนวณ Excel นั้น สามารถใช้งานคล้ายๆ กับเครื่องคิดเลขได้เลย เรามาลองศึกษาพื้นฐานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ของโปรแกรม Excel กันแบบเริ่มต้น 

โดยสามารถ บวก ลบ คูณหาร โดยเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย = 

การบวก เลือกฟิล์ดที่ต้องการบวก =C3+C4 แล้ว Enter

การลบ เลือกฟิล์ดที่ต้องการลบ =C3-C4 แล้ว Enter

การคูณ เลือกฟิล์ดที่ต้องการคูณ  =C3*C4 แล้ว Enter

การหาร เลือกฟิล์ดที่ต้องการหาร =C3/C4 แล้ว Enter

การหาผลรวม เลือกฟิล์ดที่ต้องการผลรวม =SUM(A1:A10) Enter




การตีเส้นตารางและการยกเลิกเส้นตาราง Ms Excel

การเพิ่มเส้นตารางและยกเลิกเส้นตาราง Ms Excel

โปรแกรมคำนวณทางตัวเลขและบัญชี และแบ่งออกเป็นช่องๆ 

เราสามารถใส่เส้นขอบตาราง หรือยกเลิกการใส่เส้นขอบตาราง จากชุดรุปแบบที่เตรียมไว้ให้ใช้งาน Preset ง่าย ดังต่อไปนี้ 

สร้างหรือเปิดไฟล์ ตารางงาน ขึ้นมา 

นำเม้าส์ไปแกรด คลุม ช่อง ที่ต้องการ ตีเส้นตาราง 

บนเมนูบาร์ ไปที่ ไอค่อน เส้นตาราง คลิก และเลือกรูปแบบ เส้นตาราง ที่ต้องการ 



คลิปแนะนำ

แผนที่โลก Google Earth การค้นหาสถานที่และชั้นข้อมูล

 โปรแกรม Google Earth Pro เป็นโปรแกรมฟรีที่สามารถโหลดมาติดตั้งและใช้งาน กันได้ 

วันนี้ ผมจะขอแนะนำพื้นฐาน การใช้งาน สำหรับมือใหม่ หรือ ผู้สนใจ ในการใช้งานโปรแกรม กันสักนิด

หัวข้อแรก คือ เรื่องของการค้นหาข้อมูล 

การปักหมุด สถานที่โปรด 

และ หัวข้อ 2 เป็นเรื่องของ การเปิดปิดชั้นข้อมูลหรือ Layer 

เช่น พวก เส้นเขตแดน ป้าย ชื่อ รูปภาพ หรือ วัตถุ 3 มิติ 

ลองไปที่ เทพีเสรีภาพ statue of liberty  

แสดงตัวอย่าง การเปิดปิดชั้นข้อมูล รูปภาพ 


และลองบินไปที่ หอไอเฟล Eiffel tower 

แสดงการเปิดปิด ชั้นข้อมูล 3 มิติ



การใช้เครื่องมือวัดขนาดพื้นที่ Google earth pro

แนะนำดาวโหลดโปรแกรมแผนที่ Google earth pro 
สำรวจข้อมูลพื้นที่ สถานที่ต่างๆ ทั่วโลก วางแผน การเดินทาง การทำงาน หรือแผนท่องเที่ยว ให้ปัง
การวัดขนาดพื้นที่ โดยแถบเครื่องมือ หรือ ไม้บรรทัด 
วัดอะไรบ้าง
วัดเส้นรอบรูป โดยใช้การวาดรูปหลายเหลี่ยม หรือ โพลีกอน 
เลือกหน่วยในการวัด เป็น ตารางเมตร หรือ ตารางฟุต หรือองศา 
การปรับแต่ง สี และเติมสี ของรูปร่าง

การวัดระยะทางเป็นวงกลม โดยรัศมีที่ต้องการ เพื่อดูสิ่งที่น่าสนใจในย่าน หรือรัศมี
การวัดระยะทางตรง โดยเครื่องมือ เส้น หรือ เส้นทาง เพื่อดูระยะทางจริง หรือระยะกระจัด 



How to make quiz by Appsheet 02

For this tutorial I am going to show you How to add anothe view on the screen
on the left 
click UX
add Newview
choose form style as Form
and select Position of the Menu View 
Click Save



วิธีจัดกลุ่มข้อมูลด้วยคิวรี่ Ms Access

ตัวอย่างฐานข้อมูล MS Access 365 
สร้างฐานข้อมูลง่ายๆ ด้วยตนเอง เพื่อ บันทึกข้อมูล 
จำลองตัวอย่าง โรงเรียนแห่งหนึ่ง ต้องการ สร้างวินัย ออมเงินให้เด็ก 
สร้างตารางเก็บข้อมูล ชื่อ table2
ประกอบด้วย คอลัมน์ 
ID 
ชื่อนักเรียน
จำนวน
วันที่

จากนั้น ให้ บันทึกข้อมูลของแต่ละคน เพื่อเป็นตัวอย่างในการทำงาน 

ขั้น 2การสร้างแบบสอบถามข้อมูล
ไปที่เมนู คำสั่ง การออกแบบสอบถามข้อมูล หรือ Query 
เลือกแหล่งข้อมูล หรือ Source เป็น table2
เลือกฟิลด์ ชื่อนักเรียน และ จำนวน
จากนั้นไปที่ icon ผลรวม 

คลิกที่ grouped by ของจำนวน เลือกเป็น Sum

บันทึกแบบสอบถาม ชื่อ query2

ขั้น 3 
สร้างรายงาน โดยเลือก souce เป็น query2
นำเข้าข้อมูลทั้งหมด

ปรับส่วนท้าย
คลิก ชื่อนักเรียน แล้ว ไปที่ ผลรวม เป็นการนับค่า Count
คลิก ช่องจำนวน และไปที่ ผลรวม เป็น ผลรวม
บันทึกรายงานเป็น Query2




How to group data by using query Ms Access 365

Beginner and newbie for Ms Acces or even higher but, forgot how to do so
fist of all  open up Ms access and create the new table named as defualt value Table1
afer that go to design view where we will name the colums as follows
ID   type Auto
Student_name   Text
Amount    Number
when    date/time


that all

open the table and input some sample data as follow 
Student A
Student B
Student C
Student D

For Amount 
Student A   10
Student B   20
Student C    15
Student D   30 


When
just select today to input the data.

then 
repeat the about step in order to have some same name many times in the table 

Next How to make query to grouped data
on menu bar go to create and select query design
show the table1

select field as follow
student_name
amount

after that on the menu bar ribbon just look for SUM icon and click 1 time
you pobally get the query of student_name and amount be grouped by 

click to Sum on Amout 

We can sort data from max to min or min to max 
don't forget to save as query1!


Last step
on menu bar
create the report 
click on report wizard 
source will be query1
input both of the field 

how to show the total numbes of student and total amount of money

go to design view and click on Student Name textbox then click on SUM icon on the menu bar select count 

then select the SumOfAmount and click SUM icon select SUM

That all
save report as query1


วิธีสร้างแอพแบบทดสอบด้วย Appsheet

 สำหรับแนวทางนี้ เป็นเพียงการประยุกต์แนวทาง การใช้ Appsheet กับ Google sheet ในการทำแบบทดสอบง่ายๆ เท่านั้น

พื้นฐานที่ต้องมี คือ 

การสร้างตารางข้อมูล Google sheet 

และ บัญชีใช้งาน Appsheet ลงทะเบียนเข้าใช้งานได้ฟรี ๆ ครับ พัฒนาแอพ ง่าย รวดเร็ว ไม่ต้องเขียน Code 

ขั้้นตอนแรก 

ไปสร้างตาราง แบบทดสอบ ชื่อ English ในบัญชี Google Drive ของเรา 

จำนวน คอลัมน์ ประกอบด้วย ID คำถาม รูปภาพ ตัวเลือก A B C D และ เขียนคำตอบ 


ขั้นสองไปที่เว็บไซต์ Appsheet

คลิก สร้างแอพใหม่ เลือก ตั้งชื่อแอพ และเลือกกลุ่ม หมวดหมู่แอพเป็นอื่นๆ other 

จะเข้าไปเลือก ตารางฐานข้อมูล ที่เราสร้างในขั้นตอนแรกเข้ามา 


ขั้นต่อมา กำหนด คุณสมบัติของตาราง ไปที่ Data และ Column view เลือก ชนิดของข้อมูล ตามที่ต้องการ ส่วนใหญ่เป็น Text หรือ ข้อความ ยกเว้น รูปภาพ เป็น image และ เขียนคำตอบเป็น การวาด Dawing 


การกำหนดหน้าตาแอพ ไปที่ UX เลือก เป็น แบบที่ต้องการ 


ชมคลิป

วิธีการสมัครใช้งาน Line Notify

 Rewrite ในแบบฉบับของผมเอง 

รู้จักกับ Line Notify 

แปลตามตัว ระบบแจ้งเตือน ข้อความ เช่น กำหนดการประชุม การนัดหมายลูกค้า การเดินทาง การทำงาน ฯลฯ

การแจ้งเตือน จะเป็นการส่งข้อความสั้น เข้ากลุ่มไลน์ หรือ ส่งเข้าไลน์ส่วนตัว ก็สามารถทำได้

แนะนำสำหรับ แอดมิน ระบบ หรือ ผู้รับผิดชอบแจ้งเตือนข้อความ ให้ส่วนต่างๆ ได้รับทราบ

การใช้งาน จะต้องมีบัญชีผู้ใช้งาน ไลน์ 

ขั้นตอนแรก ไปที่เว็บไซต์บริการของไลน์ประเทศไทย เริ่มต้นจาก ไปที่ https://notify-bot.line.me/th แล้วกดเข้าสู่ระบบ


ไปแล้ว ต้องลงทะเบียนใช้งาน ก่อน 

ปัญหา คือ ลืมรหัสผ่านไลน์ ไม่รู้จดไว้ที่ไหน 

การ Reset รหัสผ่านของไลน์ 

ไปที่ ไลน์ในมือถือ หน้าแรก Home แตะที่รูปการตั้งค่า มุมบนขวา 

เลือก เมนูรหัสผ่าน Password 

แต่เข้าไป ไลน์จะไม่ให้เรา ทราบค่ารหัสผ่านเดิม แต่จะให้เรา เปลี่ยนรหัสผ่านใหม่เลย 

ถ้า มือถือ เรา มีการ ใส่รหัสผ่าน ด้วย รหัสผ่าน หรือ รูปแบบ ลากหน้าจอ หรือ อ่านลายนิ้วมือ ก็ต้อง ล็อกอินผ่าน เรียบร้อยก่อน นะ 


การเปลี่ยนรหัสผ่าน ใส่รหัสผ่านใหม่ที่ต้องการ 2 ครั้ง 

รหัสผ่านที่กำหนด ไม่ต่ำกว่า 6 ตัว และต้องมีตังอักษรผสมกับตัวเลขด้วย 

ใส่เสร็จ อย่าลืมจดไว้กันลืมด้วย นะ 


การลงทะเบียน ก็ใส่ข้อมูลตามจริงที่ต้องการลงไป ในช่องบังคับกรอก ช่อง email ต้องเป็นเมลเดียวกับที่ใช้งานบัญชีไลน์ ในมือถือ อย่ามั่วอีเมล สำหรับคนที่ใช้งานหลายบัญชี 

จากนั้นให้ไปที่ หน้าของฉัน 

คลิก ออก Token

แล้ว copy เก็บไว้ 

จะใช้งานได้ 

ก็อาจจะต้องใช้ แอพส่งข้อความช่วย  หรือ จะเขียน code ในการส่งข้อความเอง ก็ทำได้ ทั้ง 2 กรณี 



ทำงานกับตารางข้อมูล Working with Attributes

ระบบ GIS แบ่งออกได้ 2 ส่วน คือ ส่วนหน้า และส่วนตารางข้อมูล การติวนี้ จะแสดงการนำข้อมูลจากตารางมาแสดง ในรูปแบบของภาพ ลายเส้น ชั้นข้อมูล รวมทั้งการสืบค้นข้อมูล ในการนำมาแสดง ตามรูปแบบ 


ภาพรวม 

ชุดข้อมูลของการติวนี้ จะปรกอบด้วย ข้อมูลประชากร ในโลก ใบนี้ งานคือ สอบถามข้อมูล และหา เมืองหลวง ของแต่ละประเทศในโลกนี้ ที่มีประชากร อาศัย เกิน 1 ล้านคน แล้ว บันทึกผล ข้อมูลในรูปแบบของ เซตย่อย ในไฟล์ ข้อมูล สารสนเทศ 


ทักษะอื่นๆ 

  • เลือก ภาพแสดงจากชั้นข้อมูล โดยใช้คำสั่งนิพจน์ 
  • การใช้เครื่องมือตารางข้อมูล
  • ส่งออกข้อมูลที่กำหนด ในรูปแบบของ ภาพแสดง 

เอาข้อมูลจากไหน 


ง่ายในการติว เราได้เตรียมไฟล์ประกอบการติวให้ โดยโหลดได้ตามลิงค์ด้านล่าง 


ne_10m_populated_places_simple.zip

Data Source [NATURALEARTH]

ขั้นตอนการทำงาน

เปิดโปรแกรม และนำเข้าไฟล์ ที่โหลดมา ชื่อไฟล์ คือ  ne_10m_populated_places_simple.shp

ลากวางใน หน้าต่างการทำงาน Canvas 

จะมีข้อมูล แสดง จุดเล็ก ๆ ในหน้าต่างงาน 

การเรียกดูความเชื่อมโยงข้อมูลของแต่ละจุด โดยใช้แภบเมนูบาร์ด้านบน 



คลิกเลือก ตัวระบุ Identify แล้ว นำเม้าส์มาคลิกที่จุดใดจุดหนึ่ง ข้อมูลเชิงตารางจะแสดงขึ้นมา 


ต่อไป เราจะมาดูการเรียงดูข้อมูลเชิงตาราง คลิกที่ปุ่ม 
Open Attribute บนเมนูบาร์ 


คนที่ทำงานกับฐานข้อมูล ก็จะเข้าใจได้ง่ายขึ้นของข้อมูลในตารง เช่น ชนิดข้อมูล การ sort ข้อมูล การคิวรีข้อมูล 

ในนี้ให้ลองมองหาคอลัมน์ pop_max ซึ่งเก็บข้อมูลจำนวนประชากร 

ลองเรียง จากน้อยไปหามาก หรือ จากมากไปหาน้อย ได้ 


ฝึกเขียนนิพจน์ง่ายๆ ในการดึงข้อมูลจากตารางมาแสดงตามเงื่อนไขที่กำหนด ได้ดังนี้ 

"pop_max>1000000"

"pop_max" > 1000000




ข้อมูลตามคิวรี ครับ จุดสีเหลือง จำนวน 500 เมือง ที่มีประชาการ เกิน 1 ล้านคน 


ฝึกเพิ่มคำสั่งกรองข้อมูลคิวรี่ โดยให้เป็นเมืองหลวง ซึ่งมีประชาการ เกิน 1 ล้านคน 

คอลัมน์เมืองหลวงชื่อ adm0cap 
"pop_max" > 1000000 and "adm0cap" = 1

เลือก ข้อมูล Name String 




จะได้ Layer หรือ ชั้นข้อมูล ที่กรอง อีก 1 ชั้น ลอง ปิด ชั้นข้อมูลเดิม ออก จะเห็น ชั้นข้อมูล ตามที่เรา กรอง ไหม